ข้อมูลประชากร
จำนวนประชากร
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนครัวเรือน (ครัวเรือน) |
จำนวนประชากร |
ชาย (คน) |
หญิง (คน) |
รวม (คน) |
1 |
บ้านแม่โถ |
384 |
868 |
848 |
1,716 |
2 |
บ้านอมลอง |
122 |
290 |
257 |
547 |
3 |
บ้านแม่แวน |
143 |
186 |
199 |
385 |
4 |
บ้านกองลอย |
561 |
837 |
821 |
1,658 |
5 |
บ้านทุ่ง |
216 |
320 |
320 |
640 |
6 |
บ้านบ่อสลี |
438 |
542 |
522 |
1,064 |
7 |
บ้านกองปะ |
264 |
316 |
333 |
649 |
8 |
บ้านใหม่ทุ่งสน |
111 |
148 |
164 |
312 |
9 |
บ้านแม่โถหลวง |
131 |
224 |
264 |
488 |
10 |
บ้านดอกแดง |
135 |
283 |
277 |
560 |
รวม | 2,505 | 4,014 | 4,005 | 8,019 |
องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อสลี มีขอบเขตการรับผิดชอบ 10 หมู่บ้าน จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 2,505 ครัวเรือน จำนวนประชากร 8,019 คน
สภาพสังคม
การศึกษา
- โรงเรียนประถมศึกษา (สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ) 7 แห่ง ดังตารางต่อไปนี้
ลำดับที่ |
รายชื่อโรงเรียน |
จำนวนนักเรียน |
ก่อนประถม
(คน) |
ป.1-ป.4
(คน) |
ป.5-ป.6
(คน) |
1 |
บ้านแม่โถ |
110 |
231 |
137 |
2 |
บ้านอมลอง |
25 |
39 |
18 |
3 |
บ้านกองลอย |
70 |
101 |
41 |
4 |
บ้านทุ่ง |
7 |
20 |
18 |
5 |
บ้านบ่อสลี |
16 |
60 |
26 |
6 |
บ้านบ่อสลี (สาขาแม่แวน) |
- |
14 |
- |
7 |
บ้านดอกแดง |
14 |
24 |
22 |
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 8 แห่ง ดังตารางต่อไปนี้
ลำดับที่ |
ชื่อศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
จำนวนนักเรียน ( คน ) |
1 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านอมลอง |
15 |
2 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแม่แวน |
18 |
3 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกองลอย |
20 |
4 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่ง |
26 |
5 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบ่อสลี |
26 |
6 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านใหม่ทุ่งสน |
11 |
7 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแม่โถ |
31 |
8 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดอกแดง |
14 |
- ศูนย์การเรียนชุมชน กรมการศึกษานอกโรงเรียน 2 แห่ง ดังนี้
+ ศูนย์การเรียนชุมชนฯ บ้านใหม่เฮาะคี |
จำนวน 60 คน |
+ ศูนย์การเรียนชุมชนฯ บ้านกองปะ |
จำนวน 40 คน |
- ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยี |
1 แห่ง |
- ที่อ่านหนังสือพิมพ์ |
7 แห่ง |
สถาบันและองค์กรทางศาสนา
- วัด/สำนักสงฆ์ |
9 แห่ง |
- โบสถ์ |
7 แห่ง |
การสาธารณสุข
- สถานีอนามัย 3 แห่ง
- อัตราการมีส้วมซึมและส้วมราดน้ำ ร้อยละ 89.68 %
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- สถานีตำรวจ 1 แห่ง
การบริการพื้นฐาน
1 การคมนาคมและการขนส่ง
การคมนาคมขนส่งระหว่างตำบล มีถนนลาดยาง ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก และถนนลูกรัง ที่สามารถใช้เป็นเส้นทางสัญจรไปมา และเส้นทางขนส่งผลิตผลทางการเกษตร ในส่วนของการให้บริการขนส่งสาธารณะ มีรถโดยสารประจำทาง จำนวน 1 สาย คือ รถโดยสาร เชียงใหม่-แม่ฮ่องสอนและรถโดยสาร (สี่ล้อเล็ก) ฮอด-แม่สะเรียง
2 การโทรคมนาคม/การสื่อสาร
- ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข |
1 แห่ง |
- สถานีโทรคมนาคมอื่น |
2 แห่ง |
- มีโทรศัพท์สาธารณะทางไกลชนบท |
- แห่ง |
- มีโทรศัพท์สาธารณะทางไกลชนบทผ่านดาวเทียม |
4 แห่ง
|
3 การไฟฟ้า
- มีไฟฟ้าใช้ จำนวน 10 หมู่บ้าน (ยกเว้นบางพื้นที่ที่มีการขยาย อพยพครัวเรือนไปสร้างบ้าน หรือที่พนักในไร่ ในสวน)
- ไม่มีไฟฟ้า จำนวน 1 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 7 (ปัจจุบันใช้ไฟฟ้าระบบพลังงานแสงอาทิตย์ แต่ไม่ได้ใช้ทุกครัวเรือน) ขณะนี้ อบต. กำลังดำเนินการของสนับสนุนงบประมาณขยายให้ครบทุกครัวเรือน
4 แหล่งน้ำธรรมชาติ
- ลำน้ำ, ลำห้วย |
4 แห่ง |
- หนอง, คลอง, บึงและอื่น ๆ |
2 แห่ง |
5 แหล่งน้ำที่สร้างขึ้นเพื่อการอุปโภคและสาธารณูปโภค
- ประปาหมู่บ้าน |
- แห่ง |
- บ่อน้ำตื้น |
20 แห่ง |
- บ่อโยก |
4 แห่ง |
- อ่างเก็บน้ำ |
- แห่ง |
- อื่น ๆ |
11 แห่ง |
ข้อมูลอื่น ๆ
มวลชนจัดตั้ง
- คณะกรรมการพัฒนาสตรี ระดับตำบล |
1 คณะ |
- คณะกรรมการพัฒนาสตรี ระดับหมู่บ้าน |
10 คณะ |
- อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) |
10 หมู่บ้าน |
- อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน |
10 หมู่บ้าน |
- ตำรวจชุมชน |
10 หมู่บ้าน |
- ลูกเสือชาวบ้าน |
200 คน
|